Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

คู่มือทนายความฝึกหัดคดีอาญา (ภาคปฏิบัติ) กรณีราษฎรเป็นโจทก์ฟ้องคดี

฿ 456.00

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 960 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ธีระศักดิ์ สุโชตินันท์

รหัสสินค้า

9786165778060

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

500

พิมพ์ครั้งที่

2 : 2567

สินค้าหมดแล้ว

รหัสสินค้า: 9786165778060 หมวดหมู่: , , Product ID: 45486

รายละเอียดเพิ่มเติม

🍨 ผู้เขียน: ธีระศักดิ์ สุโชตินันท์ (ทนายความ)
🍨 รหัสสินค้า: 9786165778060

 

🧊 สารบัญ
🧊 ๑. การบรรยายฟ้องและตัวอย่างคดีอาญา 🧊
– หลักเกณฑ์การบรรยายฟ้องอาญา

– หลักการบรรยายที่ทนาย ต้องจด ต้องจำ
– พื้นฐานการบรรยายฟ้องในคดีอาญา
– เทคนิค ! การปรับตัวบทกฎหมายเพื่อเข้ากับข้อเท็จจริง  
🌾ตัวอย่างคดีอาญา
ตัวอย่างคดีที่ ๑ –
โกงเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา (ขายทรัพย์หนีหนี้)

ตัวอย่างคดีที่ ๒ – ฉ้อโกง (หลอกขายโทรศัพท์ผ่านแอพลิเคชั่นไลน์)
ตัวอย่างคดีที่ ๓ – โกงเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา
ตัวอย่างคดีที่ ๔ – ร่วมกันโกงเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา
ตัวอย่างคดีที่ ๕ – ฉ้อโกง และโกงเจ้าหนี้จำนำ
ตัวอย่างคดีที่ ๖ – ฉ้อโกง และความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
ตัวอย่างคดีที่ ๗ – ยักยอกทรัพย์
ตัวอย่างคดีที่ ๘ – บุกรุกในเวลากลางคืน
ตัวอย่างคดีที่ ๙ – ร่วมกันฉ้อโกง
ตัวอย่างคดีที่ ๑๐ – แจ้งความเท็จ
ตัวอย่างคดีที่ ๑๑ – ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม
ตัวอย่างคดีที่ ๑๒ – ร่วมกันยักยอก
ตัวอย่างคดีที่ ๑๓ – พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔
ตัวอย่างคดีที่ ๑๔ – แจ้งความเท็จ และแจ้งความเท็จลงในเอกสารมหาชนหรือเอกสารราชการ
ตัวอย่างคดีที่ ๑๕ – ร่วมกันวางเพลิง ทำให้เสียทรัพย์
ตัวอย่างคดีที่ ๑๖ – ผู้จัดการมรดกยักยอกทรัพย์ในกองมรดก
ตัวอย่างคดีที่ ๑๗ – ความผิดต่อร่างกาย และความผิดต่อเสรีภาพ
ตัวอย่างคดีที่ ๑๘ – ปลอมเอกสารราชการ และใช้เอกสารราชการปลอม
ตัวอย่างคดีที่ ๑๙ – หมิ่นประมาท
ตัวอย่างคดีที่ ๒๐ – เบิกความเท็จในคดีอาญา
🧊 ๒. การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องคดีอาญาและอายุความ 🧊
– หลักกฎหมายการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องคดีอาญา
– อายุความคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา
🌾ตัวอย่างคำฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องคดีอาญา
ตัวอย่างคดีที่ ๑ –
หมิ่นประมาท (ไขข่าวไม่เป็นเรื่องจริง)
ตัวอย่างคดีที่ ๒ – ฉ้อโกง (นาฬิกา)
ตัวอย่างคดีที่ ๓ –
ฉ้อโกงแชร์ออนไลน์ เรียกค่าเสียหาย เรียกทรัพย์คืน (หลอกให้ลงทุน)
ตัวอย่างคดีที่ ๔ – ฉ้อโกงแชร์ออนไลน์ เรียกค่าเสียหาย เรียกทรัพย์คืน (หลอกให้ลงทุน)
ตัวอย่างคดีที่ ๕ –
ฉ้อโกงแชร์ออนไลน์ เรียกค่าเสียหาย เรียกทรัพย์คืน (หลอกให้ลงทุน)
ตัวอย่างคดีที่ ๖ – ฉ้อโกง เรียกเงินคืน (หลอกซื้อขายจักรเย็บผ้า)
ตัวอย่างคดีที่ ๗ –
ฉ้อโกงและฉ้อโกงโดยแสดงตนเป็นบุคคลอื่น
ตัวอย่างคดีที่ ๘ –
ฉ้อโกงและฉ้อโกงแรงงาน
ตัวอย่างคดีที่ ๙ –
ฉ้อโกงค่าอาหาร
ตัวอย่างคดีที่ ๑๐ –
ฉ้อโกง เรียกเงินคืน พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ (หลอกขายของออนไลน์)
ตัวอย่างคดีที่ ๑๑ –
ฉ้อโกง เรียกเงินคืน (หลอกขายตั๋วโดยสาร)
ตัวอย่างคดีที่ ๑๒ –
ยักยอกทรัพย์ (เงินขายสี)
ตัวอย่างคดีที่ ๑๓ –
ยักยอก ทำให้เสียทรัพย์ (ยืมรถยนต์ไม่คืน)
ตัวอย่างคดีที่ ๑๔ –
ยักยอก ติดตามเอาทรัพย์คืน (ยักยอกรถยนต์ที่ไปจำนำ)
ตัวอย่างคดีที่ ๑๕ –
ยักยอก ติดตามเอาทรัพย์คืน (ยักยอกรถยนต์เช่าซื้อ)
ตัวอย่างคดีที่ ๑๖ – ยักยอก ติดตามเอาทรัพย์คืน (ผู้จัดการมรดกยักยอกทรัพย์มรดก)
ตัวอย่างคดีที่ ๑๗ –
ยักยอก ติดตามเอาทรัพย์คืน (ยักยอกสินสมรสที่ทำมาหาได้ร่วมกัน)
ตัวอย่างคดีที่ ๑๘ –
ยักยอก ติดตามเอาทรัพย์คืน (ยักยอกทรัพย์สินในรถยนต์ที่นำไปซ่อม)
ตัวอย่างคดีที่ ๑๙ –
ยักยอก ติดตามเอาทรัพย์คืน (ยักยอกทรัพย์สินในบ้านเช่า)
ตัวอย่างคดีที่ ๒๐ –
ความผิดต่อเจ้าพนักงาน (แจ้งความเท็จ)
ตัวอย่างคดีที่ ๒๑ –
กระทำโดยประมาททำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ตัวอย่างคดีที่ ๒๒ –
กรรโชก

ตัวอย่างคดีที่ ๒๓ – วางเพลิง ทำให้เสียทรัพย์
ตัวอย่างคดีที่ ๒๔ – ลักทรัพย์ (ลูกจ้างลักทรัพย์นายจ้าง)
ตัวอย่างคดีที่ ๒๕ – ลักทรัพย์
ตัวอย่างคดีที่ ๒๖ – โกงเจ้าหนี้ (ลูกหนี้ขายทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลอื่น)
ตัวอย่างคดีที่ ๒๗ – โกงเจ้าหนี้ (ลูกหนี้ขายทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลอื่น)
– เรื่องน่ารู้….คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
🧊 ๓. พยานหลักฐานในคดีอาญา 🧊
– หลักกฎหมายพยานหลักฐานคดีอาญา

🧊 ๔. ฟ้องศาลไหน……ในคดีแพ่งและคดีอาญา 🧊
– หลักกฎหมายที่ใช้ในการพิจารณา

– การฟ้องคดีศาลแขวงหรือศาลจังหวัดในคดีแพ่งและคดีอาญา
🧊 ๕. อายุความในคดีอาญา 🧊
– หลักกฎหมายเกี่ยวกับอายุความในคดีอาญา

🧊 ๖. การจัดเรียงสำนวนคดีอาญาเพื่อยื่นแก่ศาลและคู่ความ 🧊
– ผังลำดับการจัดสำนวนทนายความโจทก์เพื่อยื่นฟ้องคดี

– ผังลำดับการจัดสำนวนทนายความจำเลยเพื่อแก้ต่างคดี
– อักษรย่อของสำนวนความในศาลเกี่ยวกับคดีอาญา
🧊 ๗. หลักปฏิบัติในการส่งหมายและขอหมายเรียกพยาน 🧊
– ตัวอย่างการทำคำแถลงขอให้ศาลส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยวิธีปิดหมาย

– ตัวอย่างการทำหมายนัดไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา (๑๙ ตรี)
– ตัวอย่างการทำใบรับหนังสือหรือหมาย (๖๒)
– ตัวอย่างการรับทราบคำสั่งศาลในวันยื่นฟ้องคดีอาญา
– ตัวอย่างคำแถลงขอให้ศาลส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยประกาศทางหนังสือพิมพ์
– ตัวอย่างแนวปฏิบัติในการพิจารณาคดีอาญาของศาลในวันนัดครั้งแรก
– ตัวอย่างแนวทางการใช้ดุลพินิจในการเลื่อนคดี

– ตัวอย่างบัญชีพยาน [ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการขอหมายเรียกพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ]
– ตัวอย่างการคำร้อง/คำขอหมายเรียกพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ ในฉบับเดียวกัน
– ตัวอย่างการทำหมายเรียกพยานบุคคล (๑๖)
– ตัวอย่างการทำหมายเรียกพยานเอกสารหรือพยานวัตถุ (คดีอาญา) (๑๗)
– ตัวอย่างหมายเรียกพยานบุคคล (๑๖) — (ฉบับสมบูรณ์)
– ตัวอย่างคำแถลงรายงานการส่งผลหมาย
– หมายเรียกพยาน สามารถส่งทางไปรษณีย์ตอบรับได้หรือไม่
– ตัวอย่างกรณีหากศาลสั่งเป็นอย่างอื่น เช่น “ปิดหมาย” –หมายเรียกพยานบุคคล (๑๖) —
🧊 ๘. การนำหลักฐานเข้าสู่สำนวน หน้าที่นำสืบและถามพยาน 🧊
– การถามพยาน

– การถามค้าน
– การถามติง
– การคัดค้านข้อถามหรือคำสั่งหรือคำชี้ขาดของศาล
🧊 ๙. ว่าด้วยกฎเกณฑ์การไต่สวนมูลฟ้อง 🧊
– หลักกฎหมายในการไต่สวนมูลฟ้อง

– คำแนะนำของประธานศาลฎีกาเกี่ยวกับการไต่สวนมูลฟ้อง พ.ศ. ๒๕๖๒
– ตัวอย่างการเขียนคำแถลงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายในคดีหมิ่นประมาท
– ตัวอย่างหมายนัดไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา (๑๙ ตรี)
– ตัวอย่างหมายนัด (๑๙) — ใช้กรณีนัดบุคคลทั่วไปให้ไปศาล
🧊 ๑๐. การไต่สวนมูลฟ้อง (ภาคปฏิบัติ) และการประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยในชั้นศาล 🧊
– ตัวอย่างคำฟ้องคดีที่ – ข้อหาร่วมกันบุกรุก

– ตัวอย่างรายงานกระบวนพิจารณา (ชั้นไต่สวนมูลฟ้อง)
– ตัวอย่างรายงานกระบวนพิจารณา (ชั้นไต่สวนมูลฟ้อง) – วันนัดฟังคำสั่งศาล –
– ตัวอย่างรายการแจ้งสิทธิของจำเลย – วันนัดสอบคำให้การจำเลย/วันคุ้มครองสิทธิ –
– ตัวอย่างรายงานกระบวนพิจารณา (ชั้นไต่สวนมูลฟ้อง)
– การประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยในชั้นศาล (ปล่อยตัวชั่วคราว)
🧊 ๑๑. คำร้องในคดีอาญาที่สำคัญ 🧊
ตัวอย่างที่ ๑ – คำร้องคัดค้านการนำสืบสำเนาพยานเอกสาร ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๓๘

ตัวอย่างที่ ๒ – คำร้องขอให้ศาลไม่รับฟังพยานหลักฐานที่นำเข้าสืบโดยไม่ได้ปฏิบัติ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๔๐
ตัวอย่างที่ ๓ – คำแถลงขอตรวจสำเนาและคัดเอกสาร ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๕ ประกอบ ป.วิ.พ. มาตรา ๕๔
ตัวอย่างที่ ๔ – คำขอถอนตนจากการเป็นทนายในคดี ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๕ ประกอบ ป.วิ.พ. มาตรา ๖๕
ตัวอย่างที่ ๕ – คำขอให้ศาลไกล่เกลี่ยเป็นการลับโดยไม่มีทนายความ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๕ ประกอบ ป.วิ.พ. มาตรา ๒๐ ทวิ
ตัวอย่างที่ ๖ – คำขอตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดี ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๔๙ ประกอบ ป.วิ.พ. ภาคบังคับคดี
ตัวอย่างที่ ๗ – คำขอศาลสั่งฝ่ายที่แพ้คดีจ่ายค่าธรรมเนียมศาลในคดีส่วนแพ่ง ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๕๕
ตัวอย่างที่ ๘ – คำขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลในคดีส่วนแพ่ง ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๕๔ วรรคสอง
ตัวอย่างที่ ๙ – คำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๐
ตัวอย่างที่ ๑๐ – คำร้องขอให้ศาลยกคดีขึ้นพิจารณาและนัดฟังคำพิพากษา
ตัวอย่างที่ ๑๑ – คำร้องขอคัดหมายจับระหว่างพิจารณา
ตัวอย่างที่ ๑๒ – คำร้องขอถอนฟ้อง (ก่อนจำเลยยื่นคำให้การ) ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๕, มาตรา ๓๖
ตัวอย่างที่ ๑๓ – คำร้องถอนคำร้องทุกข์ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๒๖, มาตรา ๓๙ (๒)
ตัวอย่างที่ ๑๔ – คำร้องขอส่งประเด็น ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๓๐
ตัวอย่างที่ ๑๕ – คำร้องขอให้ส่งเอกสารไปตรวจพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๒๘/๑